ความจำเป็นและประโยชน์ของการมีศาลปกครอง

27/12/52
ศ.ดร.ลิขิต ธีรเวคิน18/3/2552 คำถามหนึ่งที่เกิดขึ้นก็คือ หลังจากที่ประเทศไทยมีศาลปกครองทำให้ประชาชนมีสิทธิมากกว่าที่เป็นอยู่ ในแต่ขณะเดียวกัน ก็มีคนตั้งข้อสังเกตว่าเป็นสาเหตุให้ข้าราชการทำงานอย่างไม่มั่นใจและสะดวกใจ เพราะกริ่งเกรงว่าจะมีการปฏิบัติงานผิดพลาด ศาลปกครองจึงอาจจะถูกมองทั้งในแง่บวก เป็นประโยชน์ต่อการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน...
Read more ...

การเมือง การปกครองและศาล (จาก ข่าวศาลยุติธรรม ปีที่ 9 ฉบับที่ 84 (วันศุกร์ที่ 16 พฤษภาคม 2551))

27/12/52
โดย ศ.ดร.ลิขิต ธีรเวคิน ศาลเป็นสถาบันที่มีภารกิจหลักคือการพิจารณาอรรถคดี ซึ่งประกอบด้วยคดีแพ่ง และคดีอาญาเป็นหลักที่เรียกว่าศาลสถิตยุติธรรม ภารกิจของศาลส่วนนี้เป็นภารกิจของผู้เชี่ยวชาญทางกฎหมาย ซึ่งต้องพิจารณาวินิจฉัยอรรถคดีตามกระบวนการยุติธรรม เพื่อให้จบลงด้วยความยุติธรรมเป็นที่ยอมรับของทั้งสองฝ่าย ในกรณีคดีอาญานั้นคือการกระทำที่ผิดต่ออาญาแผ่นดินเกิดขึ้นได้โดยการกระทำต่อบุคคลด้วยกัน...
Read more ...

ซิเซโร

27/12/52
ทางด้านปรัชญาความคิดนั้นโรมันได้รับแนวความคิดทางปรัชญามาจากกรีกโดยเฉพาะแนวคิดของพวก สโตอิด เรื่องความมีเหตุผลความยุติธรรมตามธรรมชาติและความเท่าเทียมกันมาใช้ในกฎหมายโรมัน กลุ่มนักปรัชญา คือกลุ่ม Scipionic cricle  ได้เสนอแนวคิดเรื่องความเท่าเทียมกันของมนุษย์ซึ่งทำให้เกิดความยุติธรรมในรัฐ และเสนอเรื่องความเป็นหนึ่งอันเดียวกันของเชื่อชาติ นอกจากนี้...
Read more ...

นักนิติศาสตร์หลงทางหรือ

27/12/52
ศาสตราจารย์ ดร. อมร จันทรสมบูรณ์  อดีตเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา คำถามนี้เป็นหัวข้อของการอภิปรายของชมรมนิติศึกษาคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ เปล่า นักนิติศาสตร์มิได้หลงทาง  เพราะการที่จะกล่าวได้ว่านักนิติศาสตร์หลงทางย่อมหมายถึงว่านักนิติศาสตร์ต้องมีจุดหมายปลายทางที่นักนิติศาสตร์กำลังจะมุ่งไปสู่เป็นเบื้องแรกเสียก่อน...
Read more ...

ศาลผู้บริโภค

25/12/52
ทำความรู้จักศาลผู้บริโภคกันครับ วันนี้สำนักงานคงอดไม่ได้ที่จะพูดถึงศาลผู้บริโภคหรือศาลแผนกคดีผู้บริโภคกันครับ ซึ่งที่จริงแล้วศาลผู้บริโภคก็เป็นระบบวิธีพิจารณาคดีทางแพ่งของศาลยุติธรรมรูปแบบใหม่ตามพระราช บัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ . ศ.2551 นั้นเอง ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 23 สิงหาคม 2551เป็นต้นไป ประชาชนในฐานะผู้บริโภคหรือผู้ได้รับความเสียหายจากสินค้าอันตรายต่างๆสามารถใช้สิทธิฟ้องร้องต่อแผนกคดีผู้บริโภคที่มีประจำอยู่ในศาลแขวงศาลจังหวัด...
Read more ...

วรเจตน์ ภาคีรัตน์ : ศาลเขียน รธน.ใหม่

10/12/52
"รัฐธรรมนูญเขียนว่าหนังสือสัญญาที่มีบทเปลี่ยนแปลงอาณาเขตไทย ศาลรัฐธรรมนูญชุดนี้โดยใช้เทคนิคหรือกลไกการตีความ ก็เพิ่มถ้อยคำว่าอาจมีผลเปลี่ยนแปลงอาณาเขตไทย แปลว่าศาลรัฐธรรมนูญเขียนมาตรา 190 ขึ้นใหม่ ว่าหนังสือสัญญาที่อาจจะเปลี่ยนแปลงอาณาเขตไทยหรืออาจมีผลเปลี่ยนแปลงสิทธินอกอาณาเขต ซึ่งเป็นคำที่ไม่มีในรัฐธรรมนูญ" พลันที่ศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัยว่า แถลงการณ์ร่วมไทย-กัมพูชาให้ความเห็นชอบการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลก เป็นหนังสือสัญญาที่ต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาตามรัฐธรรมนูญมาตรา...
Read more ...

คุยกับธงชัย วินิจจะกูล : “การคุยเรื่องสถาบันกษัตริย์ต่อสาธารณชนเป็นสิ่งที่เป็นไปได้”

9/12/52
โดย กองบรรณาธิการฟ้าเดียวกัน ตีพิมพ์ครั้งแรกในวารสารฟ้าเดียวกัน ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 ม.ค.-มี.ค. 2551 แม้จะเป็นที่รับรู้กันโดยทั่วไปว่าสถาบันกษัตริย์มีความสำคัญต่อสังคมการเมืองไทยมหาศาล กล่าวเฉพาะในแวดวงการศึกษาก็จะพบว่ามีการผลิตงานเขียนที่เกี่ยวกับสถาบันกษัตริย์ในสังคมไทยออกมามากมายมหาศาลเช่นกัน ทว่างานเขียนเหล่านั้นกลับเป็นไปในทิศทางเดียว...
Read more ...