คดีศาลปกครองกลาง หมายเลขดำที่ 152/2550
Read more ...
กรณี พ.ต.ท. ดาวเรืองภูมิ สันดี รอง ผกก.สส.สภ.พระยืน จว.ขอนแก่น ฟ้อง
สตช. เป็นผู้ถูกฟ้องคดีที่ 1
ผบ.ตร. เป็นผู้ถูกฟ้องคดีที่ 2 และ
ก.ตร. เป็นผู้ถูกฟ้องคดีที่ 3
ประเด็นฟ้อง 2 ประเด็น
1. การเลือกตั้ง ก.ตร. ผู้ทรงคุณวุฒิแทนตำแหน่งที่ถูก รสช. สั่งยุบไม่ชอบด้วยกฎหมาย
(ที่ไปที่มา เมื่อ19 ก.ย.49 บี๊กบัง หัวหน้าคณะ รสช. สั่งยุบ ก.ตร.เลือกตั้งที่ดำรงตำแหน่งในขณะนั้น แล้วมีการเลือกตั้งซ่อม ก.ตร.ใหม่ ( คือชุดปัจจุบัน ) )
สตช. เป็นผู้ถูกฟ้องคดีที่ 1
ผบ.ตร. เป็นผู้ถูกฟ้องคดีที่ 2 และ
ก.ตร. เป็นผู้ถูกฟ้องคดีที่ 3
ประเด็นฟ้อง 2 ประเด็น
1. การเลือกตั้ง ก.ตร. ผู้ทรงคุณวุฒิแทนตำแหน่งที่ถูก รสช. สั่งยุบไม่ชอบด้วยกฎหมาย
(ที่ไปที่มา เมื่อ19 ก.ย.49 บี๊กบัง หัวหน้าคณะ รสช. สั่งยุบ ก.ตร.เลือกตั้งที่ดำรงตำแหน่งในขณะนั้น แล้วมีการเลือกตั้งซ่อม ก.ตร.ใหม่ ( คือชุดปัจจุบัน ) )
ผู้ฟ้องคดีเห็นว่าการเลือกตั้งไม่ชอบด้วย พ.ร.บ.ตำรวจฯ ม.40 ที่ว่า เมื่อ ก.ตร.พ้นตำแหน่งก่อนครบวาระ ให้ผู้ซึ่งมีชื่อในบัญชีประเภทนั้นตาม ม.37 ว 3 ในอันดับแรกเป็น ก.ตร.แทน สตช. แทนที่จะเลื่อนตำแหน่งสำรองขึ้นมากลับให้มีการเลือกตั้งใหม่
ก.ตร. มีหน้าที่วางระเบียบหลักเกณฑ์ต่างๆ ให้ตำรวจทุกคนปฏิบัติ หาก ก.ตร.มาไม่ชอบเสียแล้ว ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ออกมานั้นก็ไม่ชอบไปด้วย เพื่อมิให้เกิดความเสียหายในอนาคต จำเป็นต้องฟ้องคดีนี้
2. ผบ.ตร.(พล.ต.อ.โกวิท) ใช้อำนาจแต่งตั้งข้าราชการตำรวจไม่ชอบด้วยกฎหมาย
( ที่มาที่ไป มติ ก.ตร.ที่ 14/49 ลง 1 พ.ย.49 ให้ ผบ.ตร.ใช้อำนาจตาม ม.56 แต่งตั้งตำรวจได้โดยไม่ต้องใช้หลักเกณฑ์การแต่งตั้งตามปกติ )
มีผลให้ ผบ.ตร.มีอำนาจแต่งตั้ง รอง ผบก. จำนวน 39 ตำแหน่ง ผกก. จำนวน 40 ตำแหน่ง รวม 79 ตำแหน่ง โดยออกคำสั่ง ตร.ที่ 788/49 ซึ่ง ก.ตร.เป็นผู้อนุมัติให้มีอำนาจ
ก.ตร. มีหน้าที่วางระเบียบหลักเกณฑ์ต่างๆ ให้ตำรวจทุกคนปฏิบัติ หาก ก.ตร.มาไม่ชอบเสียแล้ว ระเบียบหลักเกณฑ์ที่ออกมานั้นก็ไม่ชอบไปด้วย เพื่อมิให้เกิดความเสียหายในอนาคต จำเป็นต้องฟ้องคดีนี้
2. ผบ.ตร.(พล.ต.อ.โกวิท) ใช้อำนาจแต่งตั้งข้าราชการตำรวจไม่ชอบด้วยกฎหมาย
( ที่มาที่ไป มติ ก.ตร.ที่ 14/49 ลง 1 พ.ย.49 ให้ ผบ.ตร.ใช้อำนาจตาม ม.56 แต่งตั้งตำรวจได้โดยไม่ต้องใช้หลักเกณฑ์การแต่งตั้งตามปกติ )
มีผลให้ ผบ.ตร.มีอำนาจแต่งตั้ง รอง ผบก. จำนวน 39 ตำแหน่ง ผกก. จำนวน 40 ตำแหน่ง รวม 79 ตำแหน่ง โดยออกคำสั่ง ตร.ที่ 788/49 ซึ่ง ก.ตร.เป็นผู้อนุมัติให้มีอำนาจ
ผู้ฟ้องคดี เห็นว่า การแต่งตั้ง ผกก. - รอง ผบก.เป็นอำนาจของ ผบช.ต่างๆ ที่ไม่ได้ขึ้นตรงต่อ ตร. ตามที่กฎหมายบัญญัติ และการใช้อำนาจแต่งตั้งตาม ม.56 ต้องเป็นกรณีที่มีเหตุพิเศษ หรือ ผบช.ใช้อำนาจแต่งตั้งไม่เป็นธรรม หรือไม่ชอบด้วยหลักเกณฑ์ที่ ก.ตร. กำหนด โดยการใช้อำนาจแต่งตั้งตาม ม.นี้ ต้องได้รับความเห็นชอบจาก ก.ตร.
ข้อเท็จจริงการแต่งตั้งคราวนั้น ไม่มีเหตุขัดข้อง ไม่มีเหตุพิเศษตามที่กฎหมายบัญญัติ..แต่เป็นกรณีที่ ผบ.ตร.รวบอำนาจเอามาแต่งตั้งเสียเอง อันเป็นการปฏิบัติที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย และ ก.ตร.ก็อนุมัติโดยไร้เหตุผลขัดต่อกฎหมายเช่นกัน
เพื่อสร้างบรรทัดฐาน สร้างความเป็นธรรมให้เกิดกับองค์กรตำรวจ จึงฟ้องคดีนี้
เมื่อ 25 มิ.ย.2553 ศาลมีคำพิพากษาตามคดีหมายเลขแดงที่ 898/2553
ประเด็นที่ 1. ศาลเห็นว่า สตช. ทำโดยชอบด้วยกฎหมายแล้ว
ประเด็นที่ 2. ศาลเห็นว่า คำสั่งแต่งตั้งที่ 788/49 ผบ.ตร. ใช้อำนาจโดยฝ่าฝืน พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ ม.55 เมื่อการใช้อำนาจของ ผบ.ตร. ฝ่าฝืนกฎหมาย มติ ก.ตร.ที่ 14/2549 ที่เห็นชอบให้ ผบ.ตร.ใช้อำนาจแต่งตั้งดังกล่าวได้ ย่อมฝ่าฝืนกฎหมายไปด้วย
จึงพิพากษาให้เพิกถอนคำสั่งแต่งตั้งและมติ ก.ตร. นั้น
ผลของคำพิพากษา
คำสั่งแต่งตั้งที่ 788/49 ซึ่งแต่งตั้ง ผกก. 40 ตำแหน่ง และ รอง ผบก. 39 ตำแหน่ง เลื่อนตำแหน่งสูงขึ้นเป็นอันสิ้นผล
เพื่อสร้างบรรทัดฐาน สร้างความเป็นธรรมให้เกิดกับองค์กรตำรวจ จึงฟ้องคดีนี้
เมื่อ 25 มิ.ย.2553 ศาลมีคำพิพากษาตามคดีหมายเลขแดงที่ 898/2553
ประเด็นที่ 1. ศาลเห็นว่า สตช. ทำโดยชอบด้วยกฎหมายแล้ว
ประเด็นที่ 2. ศาลเห็นว่า คำสั่งแต่งตั้งที่ 788/49 ผบ.ตร. ใช้อำนาจโดยฝ่าฝืน พ.ร.บ.ตำรวจแห่งชาติ ม.55 เมื่อการใช้อำนาจของ ผบ.ตร. ฝ่าฝืนกฎหมาย มติ ก.ตร.ที่ 14/2549 ที่เห็นชอบให้ ผบ.ตร.ใช้อำนาจแต่งตั้งดังกล่าวได้ ย่อมฝ่าฝืนกฎหมายไปด้วย
จึงพิพากษาให้เพิกถอนคำสั่งแต่งตั้งและมติ ก.ตร. นั้น
ผลของคำพิพากษา
คำสั่งแต่งตั้งที่ 788/49 ซึ่งแต่งตั้ง ผกก. 40 ตำแหน่ง และ รอง ผบก. 39 ตำแหน่ง เลื่อนตำแหน่งสูงขึ้นเป็นอันสิ้นผล